วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ระบบInternet/สายLAN

ประเภทของระบบเครือข่าย

สิ่งหนึ่งที่จะกล่าวก็คือขนาดของระบบเครือข่ายนั่นเอง ซึ่งจะแบ่งตามขนาดได้เป็น LAN, MAN, WAN Internetworks เป็นต้น
ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (LAN : Local Area Network)ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งและทำการเดินสายสัญญาณครอบคลุมภายในพื้นที่ที่จำกัด เช่น อาคารสำนักงาน วิทยาลัย โรงงาน หรือแต่ละอาคารที่อยู่ภายในบริเวณเดียวกัน ระยะทางการเดินสายไม่เกิน 2-3 กิโลเมตร ไม่เกี่ยวกับ กล้องวงจรปิด 3G ระบบ LAN เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องเข้าด้วยกัน โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การใช้อุปกรณ์ส่วนกลางร่วมกับการใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน และการรับส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกันระบบ LAN ถูกจำกัดด้วยขนาด ซึ่งรวมถึงจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเป็นเครือข่าย ในการวางระบบเครือข่ายประเภทนี้ หากมีการวางแผนงานที่ดี เวลาที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลสามารถคำนวณได้ล่วงหน้า ซึ่งจะมีความใกล้เคียงกับความเป็นจริงมาก ความสามารถในการคำนวณได้ล่วงหน้าเป็นส่วนประกอบสำคัญส่วนหนึ่งที่นำมาใช้ในการออกแบบระบบงานให้มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังทำให้การบริหารงานเครือข่ายมีความคล่องตัวมากขึ้นการเชื่อมโยงเครือข่าย LAN ที่นิยมใช้กันมี 2 รูปแบบดังนี้
  1. แบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) มีการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว ที่มีพื้นฐานรูปแบบการเชื่อมโยงร่วมกันแบบบัส คือ ทุกอุปกรณ์จะเชื่อมต่อกันบนสายสัญญาณเส้นเดียว การรับส่งต้องมีการจัดการไม่ให้รับส่งพร้อมกันเกินกว่าหนึ่งคู่ ขบวนการรับส่งข้อมูล จึงถูกกำหนดขึ้น ไม่ว่าจะให้ กล้องวงจรปิด8 ตัว หรือ กล้องวงจรปิด2 ตัว โดยให้อุปกรณ์ที่จะส่งข้อมูลตรวจสอบว่ามีข้อมูลใดวิ่งอยู่บนสายหรือไม่ หากไม่มีจึงจะส่งได้ และถ้ามีการชนกันของข้อมูล บนสายก็จะส่งใหม่การหลีกเลี่ยงการชนกัน จึงกระทำได้ในเครือข่ายระยะใกล้ไม่ว่าจะเป็นกล้องวงจรปิดระบบอนาล็อก หรือกล้องวงจรปิด online ผ่านทางมือถือ
  2.  แบบโทเก็นริง (Token Ring) เครือข่าย LAN มีความเร็วเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนโดยแพ็กเก็ต ข้อมูลจะวิ่งวนในทิศทางใดทางหนึ่ง ถ้ามีแอดเดรสปลายทางเป็นของใคร อุปกรณ์นั้นจะรับข้อมูลไป การจัดการรับส่งข้อมูลในวงแหวนจึงเป็นไปอย่างมีระเบียบ เหมาะสำหรับกล้องวงจรปิดรุ่นใหม่
เครือข่าย LAN ที่อยู่ในมาตรฐานเดียวกันสามารถเชื่อมโยงเข้าหากัน แต่ทุกตัวจะมีแอดเดรสประจำ และแอดเดรสเหล่านี้จะซ้ำกันไม่ได้ เราต้อง เช็คกล้องวงจรปิด ด้วยว่าใช้แอดเดรสอะไรอยู่บ้าง จากในเว็บกล้องวงจรปิด ที่ให้บริการอยู่ จากการเลือกกล้องวงจรปิดมาใช้งานเพื่อจะให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายมาตรฐานกันได้นั้น มีวิธีการพัฒนาให้ระบบสามารถนำแพ็กเก็ตเฉพาะของเครือข่ายมาใส่ในแพ็กเก็ตกลางที่เชื่อมโยงระหว่างกันได้ เช่น TCP/IP
ระบบเครือข่ายระยะปานกลาง (MAN : Metropolitan Area Network)การเชื่อมต่อเครือข่ายทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ขึ้นกว่า LAN เช่น การเชื่อมต่อระบบระหว่างองค์กร ในอำเภอหรือจังหวัด เช่นการใช้งาน กล้องวงจรปิดชลบุรี ข้อมูลสามารถถูกส่งผ่านระหว่างเครือข่ายได้ โดยการเชื่อมต่อผ่านระบบโทรศัพท์ สายโคแอกเชียลหรือระบบสื่อสารแบบไร้สายตามคุณลักษณะกล้องวงจรปิดระบบเครือข่าย MAN ได้รับการพัฒนาถึงขั้นที่มีการกำหนดมาตรฐานไว้ใช้งาน ได้แก่ IEEE 802.6 หรือเรียกว่า DQDB (Distributed Queus Dual Bus) คือ ระบบเครือข่ายที่มีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ภายในเขตเมืองหรือปริมณฑล ที่ใช้งานกล้องวงจรปิด outdoor หรือ กล้องวงจรปิดภายนอก ประกอบด้วยสายเคเบิลหรือบัสจำนวนสองเส้น บัสแต่ละบัสจะทำหน้าที่รับ ส่ง ข้อมูลไปทิศทางเดียว เช่น บัสเส้นหนึ่งรับ ส่งข้อมูลจากซ้ายไปขวา บัสอีกเส้นหนึ่งก็จะรับ ส่งข้อมูลจากขวามาซ้าย เป็นต้นระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN Area Network)เครือข่ายเชื่อมโยงกันในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็นหลาย ๆ กิโลเมตร ความเร็วในการเชื่อมโยงระหว่างกันอาจไม่สูงมากนัก เพราะระยะทางไกล ทำให้มีสัญญาณรบกวนได้สูง อาจต้องใช้ อะแดปเตอร์กล้องวงจรปิด ขึ้นอยู่กับแอพพลิเคชั่นและขนาดของข้อมูลเครือข่ายระบบ WAN และ LAN ใช้หลักการแพ็กเก็ตสวิตชิ่ง มีการกำหนดวิธีการรับส่งข้อมูลเป็นแพ็กเก็ต โดยให้แต่ละอุปกรณ์มีแอดเดรสประจำ วิธีการรับส่งมีได้หลากหลาย เรียกวิธีการว่า โพรโตคอล (Protocol)” จึงมีมาตรฐานการเชื่อมโยงระยะไกลมีการกำหนดแอดเดรส เช่น ในเครือข่าย X.25 ข้อมูลจากที่หนึ่ง ส่งเป็นแพ็กเก็ตส่งต่อไปยังปลายทางได้ มีแอดเดรสกำกับตำแหน่งปลายทางและตำแหน่งต้นทาง อุปกรณ์สวิตชิ่งจะเลือกทางส่งไปให้ หากมีปัญหาใดทำให้ เสมอซื่งกล้องวงจรปิดมีเสียง และกล้องวงจรปิดชัด ๆ ก็สามารถกำหนดได้ระบบเครือข่ายสาธารณะ (Public Wan)
เครือข่าย WAN เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างองค์กร ระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ และเพื่อให้การใช้งานมีประสิทธิภาพจึงมีองค์กรกลาง หรือผู้ให้บริการเครือข่ายสาธารณะเข้ามาช่วยจัดการเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น เครือข่ายสาธารณะที่ใช้ร่วมกันของ ทศท และ กสท หรือเครือข่ายบริการ เช่น ดาต้าเน็ต เป็นต้นในปัจจุบันเครือข่ายมีการเชื่อมเครือข่าย LAN หลาย ๆ เครือข่ายย่อยเข้าด้วยกัน จะเป็นอีเทอร์เน็ตหรือโทเก็นริงก็ได้ แล้วยังเชื่อมต่อออกจากองค์กรผ่านเครือข่าย WAN ทำให้เครือข่ายทั้งหมดเชื่อมโยงกัน มีการพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายให้มีความเร็วสูง ในการรับส่งข้อมูลซึ่งเครือข่าย WAN ที่ใช้ตัวกลางเป็นเส้นใยแก้วนำแสง สามารถส่งรับข้อมูลได้เร็วไม่น้อยกว่าเครือข่าย LAN การพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่าย LAN และ WAN จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และเป็นโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนาประเทศ ซึ่งจะไปได้ไกลเพียงใดขึ้นอยู่กับโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ของประเทศ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เป็นโครงสร้างพื้นฐานหนึ่งที่ต้องพัฒนาไปด้วยเราก็ได้ไม่มีกล้องวงจรปิดไม่ใช้เน็ต ไม่ได้แล้ว

ระบบอินเตอร์เน็ตเวิร์ค (Internetworks)
ระบบอินเตอร์เน็ตเชื่อกันว่าเป็นระบบเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพราะว่ามีผู้ใช้จากทั่วโลกเชื่อมต่อเข้าไปใช้งานอินเตอร์เน็ตทุกวัน และก็มีเซิร์ฟเวอร์เกิดใหม่ทุกชั่วโมงอย่างกล้องวงจรปิด worldtech กล้องวงจรปิดaston ก็ใช้เหมือนกัน
ระบบอินทราเน็ต (Intranets)
อินทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายระยะใกล้ที่ใช้วิธีการเชื่อมต่อแบบอินเตอร์เน็ต อนุญาตให้ใช้เฉพาะผู้ใช้ในองค์กรเท่านั้น เช่น ฟูจิโกะกล้องวงจรปิด และไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกใช้งานได้ เป็นอีกธุรกิจกล้องวงจรปิด ปัจจุบันอินทราเน็ตมีความนิยมใช้ในองค์กรจำนวนมาก เพราะมีการใช้งานเหมือนกับอินเตอร์เน็ต ง่ายต่อการเรียนรู้
ข้อเปรียบเทียบของระบบเครือข่ายแต่ละแบบ
  1. ระบบเครือข่าย (Network) ไม่ว่าจะเป็นระบบเครือข่ายระดับประเทศหรือระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น หรือระบบเครือข่ายระดับเมือง มีความแตกต่างกันอยู่หลายประการ ซึ่งพอที่จะสามารถสรุปได้ดังนี้
  2. ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มีระยะทางระหว่างจุดที่ต่อกันจำกัด ขนาดสูงสุดปกติไม่เกิน 10 กิโลเมตรด้วยกล้องวงจปิดโดม หรือกล้องวงจรปิดอินฟาเรด
  3. ระบบเครือข่ายเมือง (MAN) จะทำงานด้วยความเร็วน้อยกว่า 1 เมกะบิต/วินาที แต่การทำงานโดยปกติระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจะมีความเร็วระหว่า 1-100 เมกะบิต/วินาที ถ้าใช้เทคโนโลยีแบบเส้นใยนำแสงในการเชื่อมต่อจุดแต่ละจุดแล้ว จะทำให้ส่งข้อมูลด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิต/วินาที
  4.  เนื่องจากระบบเครือข่ายท้องถิ่น มีระยะทางการใช้งานไม่กว้าง ทำให้มีอัตราของความผิดพลาดต่าง ๆ น้อยกว่าระบบเครือข่ายระดับเมือง สามารถค้นหากล้องวงจรปิด ที่เสียหายได้เร็ว หรือบางครั้งกล้องวงจรปิดพร้อมเสียง จะทำมีระบบในตัวของกล้องวงจรปิดแจ้งเตือนเราเองได้เหมือนกัน อย่างกล้องวงจรปิดกรุงเทพ กล้องวงจปิดขอนแก่น และกล้องวงจรปิดอยุธยา ทีเป็นเมืองใหญ่ ๆ ต้องมีระบบที่ดีในการลองรับความเสียหายที่จะเกิดขึ้นได้
ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น จะอยู่ภายใต้การควบคุมของคน หรือองค์กรเดียวแต่ระบบเครือข่ายระดับประเทศ จะมีขอบข่ายการใช้งานอยู่ทั่วโลก ดังนั้น การใช้งานจะขึ้นอยู่กับองค์กรการสื่อสารของแต่ละประเทศด้วย
ระบบเครือข่ายท้องถิ่น เป็นรูปแบบการทำงานของระบบเครือข่ายแบบหนึ่งที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถติดต่อและใช้งานร่วมกันได้ ผ่านการ set กล้องวงจรปิด ซึ่งจะต่างกับระบบเครือข่ายแบบอื่น ๆ ตรงที่จำกัดการติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์อยู่ในบริเวณแคบ ๆ เท่านั้นจะมีระยะการใช้งานไม่ควรเกิน 2 กิโลเมตร เช่น ใช้ 100 เมกะบิต / วินาที และมีข้อผิดพลาดน้อย
บริการบนระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายเกิดจากความต้องการแบ่งปันใช้งานทรัพยากรในระบบเครือข่ายร่วมกัน บริการบนระบบเครือข่ายจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบระบบเครือข่ายเพื่อใช้งานในองค์กรหรือบริษัทโดยมีฮาร์ดดิสก์กล้องวงจรปิดเป็นตัวเก็บข้อมูล เพราะจะทำให้หน่วยงานของเราสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ลงไปได้มากหรือเป็นกล้องวงจรปิดระบบ cloud ก็ได้
บริการไฟล์ (File Services)
การแบ่งปันเป็นการใช้ไฟล์ของคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่งสิ่งนี้ถือเป็นปัจจัยเริ่มแรก ในการที่จะมีการใช้งานระบบเครือข่ายเลยทีเดียว จะต้องสามารถกำหนดสิทธิ การอ่าน เขียน จัดการกับไฟล์ข้อมูลของผู้ใช้งานแต่ละคนให้ผู้ใช้แต่ละคนทำอะไรได้บ้าง เช่นกล้องวงจรปิดอัดเสียงด้วยหรือป่าว คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์นั้นเรียกว่า ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ และคอมพิวเตอร์ที่มาใช้บริการไฟล์เรียกว่า ไคล์เอ็นท์ โดยไฟล์เซิร์ฟเวอร์จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
  1. เซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ (Dedicated Servers) จะมีการกำหนดคอมพิวเตอร์หนึ่งตัว หรือ หลายตัวเพื่อเป็นเซิร์ฟเวอร์ในการให้บริการไฟล์โดยเฉพาะเลย ซึ่งบางครั้งก็จะมีการเรียกระบบลักษณะนี้ว่า ไคล์เอ็นท์/เซิร์ฟเวอร์
    ประโยชน์ของการใช้เซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ คือ การจัดเก็บไฟล์ที่ศูนย์กลางเพียงที่เดียวทำให้ง่ายต่อการดูแลจัดการ เพราะสามารถเรียกไฟล์ที่มีการปรับปรุงขึ้นมาแก้ไขได้ และระหว่างที่กำลังใช้งานอยู่ผู้ใช้คนอื่นก็ไม่สามาที่จะแก้ไขไฟล์นี้ได้ ทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องอยู่เสมอเป็น server กล้องวงจรปิดที่ดี
·         มีการจัดเก็บเอาไฟล์ไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ ทำให้สามารถสำรองข้อมูลได้สะดวกและครบถ้วน เพราะเราไม่จำเป็นต้องสำรองข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่าย การสำรองไฟล์นี้สามารถตั้งเวลาในการทำสำรองได้ด้วย hdd กล้องวงจรปิด
·         ต้นทุนของไฟล์เซิร์ฟเวอร์เมื่อนำมาหารต่อจำนวนผู้ใช้งานแล้ว จะพบว่าต่ำกว่าการแยกจัดเก็บในคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
·         ถ้าหากมีการเลือกคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงมาเป็นเซิร์ฟเวอร์ก็จะทำให้ระบบมีความน่าเชื่อถือสูงขึ้นด้วย
การเก็บข้อมูลที่ศูนย์กลางจะมีประโยชน์ค่อนข้างมาก แต่ก็มีข้อควรระวังในการเลือกใช้เช่นกัน ได้แก่
·         หากมีการเสียหายของข้อมูลที่ศูนย์กลางขึ้นมา ก็จะทำให้ข้อมูลสูญหายไปได้
·         การที่ผู้ใช้ไฟล์จากที่เดียวกัน หากมีความต้องการใช้งานไฟล์นั้นพร้อม ๆ กัน ก็จะต้องรอให้ผู้ใช้คนแรกปรับปรุงข้อมูลเรียบร้อยก่อน จึงจะสามารถเรียกขึ้นมาปรับปรุงข้อมูลต่อได้
·         แต่ถ้าการเรียกใช้ไฟล์เดียวกันนั้น ไม่ต้องการปรับปรุงข้อมูลก็สามารถเรียกขึ้นมาเพื่ออ่านอย่างเดียวพร้อม ๆ กันได้ แต่ว่าเวลาในการเข้าถึงข้อมูลก็จะมากขึ้น หมายความว่าประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายก็จะลดลงด้วย
การออกแบบเซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่า กระจายศูนย์ เพื่อป้องกันความสูญเสียจากแบบศูนย์กลาง การกระจายเซิร์ฟเวอร์ออกไปในแต่ละพื้นที่ ทำให้โอกาสของความสูญเสียลดลง ซึ่งแบบนี้จะมีข้อได้เปรียบดังนี้
·         การเสียหายของเซิร์ฟเวอร์ตัวใดตัวหนึ่งไม่ทำให้ระบบทั้งหมดหยุดทำงาน จะหยุดเฉพาะเซิร์ฟเวอร์ตัวที่เสียหายเท่านั้น
·         ไมต้องใช้เซิร์ฟเวอร์ที่ดีมากก็ได้ บางครั้งอาจจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ปกติมาทำเป็นเซิร์ฟเวอร์ก็ได้
·         การเข้าถึงไฟล์ของแบบนี้รวดเร็วกว่าแบบศูนย์กลาง เพราะจะอยู่ในระยะทางที่ใกล้กว่า และมีการแบ่งกันทำงานของเซิร์ฟเวอร์ ทำให้การเกิดการโหลดกราฟฟิกได้ยาก
แนวคิดการกระจายศูนย์ จะดีกว่าแบบศูนย์กลาง แต่เมื่อนำมาใช้งานจริง ๆ ก็ประสบกับปัญหาหลายอย่าง ต้องเรียกช่างกล้องวงจรปิด มาแก้ปัญหาอยู่เป็นประจำ ได้แก่
·         มีความยุ่งยากต่อการจัดการกับบริการเกี่ยวกับไฟล์ เพราะว่าไม่ได้จัดเก็บอยู่ที่เดียวกัน
ในการปรับปรุงคุณภาพของเครื่องใช้เซิร์ฟเวอร์แต่ละครั้งจะต้องทำการเปลี่ยนใหม่ทั้งหมด ในขณะที่แบบศูนย์กลางจะทำแค่ตัวเดียว
·         แบบศูนย์กลางมีความยืดหยุ่นในการจัดการกับไฟล์มากกว่า เพราะว่าทำงานกับไฟล์เดียวกัน
  1. เซิร์ฟเวอร์แบบไม่เฉพาะเจาะจง จะไม่มีการกำหนดว่าจะต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ตัวใดขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่เซิร์ฟเวอร์ให้บริการไฟล์โดยเฉพาะ ซึ่งบางครั้งจะมีการเรียกระบบลักษณะนี้ว่า เพียร์-ทู-เพียร์ เช่น การทำงานของ Windows me จะสามารถแชร์ไฟล์ให้กับคอมพวิเตอร์เครื่องอื่นสามารถเข้ามาปรับปรุงแก้ไขไฟล์ได้ และในขณะเดียวกันก็สามารถ ที่จะดึงข้อมูลของเครื่องอื่นที่ทำการแชร์ไฟล์เอาไว้ได้เช่นเดียวกัน ระบบนี้นิยมใช้กล้องวงจรปิดจีน เช่น กล้องวงจรปิดkowa กล้องวงจรปิดaston หรืออาจเป็น กล้องวงจรปิดanalog ทั่ว ๆ ไปในท้องตลาดที่ใช้ P2P กัน
ริการสำรองไฟล์ (File Archiving)
เป็นการสำเนาไฟล์ที่ใช้งานอยู่ลงในสื่ออื่น เช่น แผ่นดิสก์เก็ต แผ่นซีดีรอม เทป เป็นต้น เพื่อจะได้เป็นการรับประกันว่าหากมีความล้มเหลวเกิดขึ้นกับระบบ จะสามารถนำระบบเดิมกลับมาทำงานต่อได้อีกครั้ง ในเวลาที่เร็วที่สุด การสำรองข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ ไฟล์ข้อมูล ข้อมูลในระบบฐานข้อมูล โปรแกรมแอพพลิเคชั่น ระบบเครือข่ายมักจะสำรองข้อมูลจากตำแหน่งศูนย์กลาง เพราะว่าสะดวกและง่ายต่อการควบคุม โดยจะตั้งเป็นกำหนดการเอาไว้ เมื่อถึงเวลาเครื่องเซิร์ฟเวอร์ก็จะทำการสำรองให้เองโดยอัตโนมัติ
บริการเครื่องพิมพ์ (Printing Services)
บริการที่นิยมใช้ผ่านระบบเครือข่ายก็คือ บริการเครื่องพิมพ์ ในปัจจุบันส่วนมากสามารถที่จะติดตั้งสายแลนเพื่อแบ่งปันการใช้งานเครื่องพิมพ์โดยไม่ต้องติดตั้งผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้บริการนี้ยิ่งนิยมใช้มากขึ้น เนื่องจาก
  1. ผู้ใช้สามารถสั่งพิมพ์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ใดก็ได้ในระบบเครือข่าย ทำให้ไม่จำเป็นต้องติดตั้งเครื่องพิมพ์ราคาแพง เช่น เครื่องพิมพ์เลเซอร์สี หรือ พล็อตเตอร์ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
  2. สามารถติดตั้งเครื่องพิมพ์เอาไว้ที่ไหนก็ได้ที่สายแลนต่อถึง ไม่จำเป็นต้องวางไว้ข้างเครื่องคอมพิวเตอร์อีกต่อไป
บริการแอพพลิเคชั่น (Application Service)
โปรแกรมแอพพลิเคชั่นถูกนำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ ซึ่งบางครั้งมีการนำข้อมูลมาคำนวณทางสถิติที่ซับซ้อนด้วย ทำให้คอมพิวเตอร์ปกติไม่สามารถทำการคำนวณได้ มีความจำเป็นต้องเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูง ๆ เช่น เครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ จึงมีการออกแบบระบบเครือข่ายให้มีเซิร์ฟเวอร์คอยบริการแอพพลิเคชั่นเพื่อประมวลผลที่เครื่องลูกข่ายร้องขอเข้ามา ในบางครั้งโปรแกรมแอพพลิเคชั่นอาจจะมีราคาค่าลิขสิทธิ์ที่แพงมาก ไม่สมควรที่จะติดตั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย เลือกเซิร์ฟเวอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง หรือใช้ CPU ที่มีความเร็วสูง ๆ ในการทำงาน มาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับให้บริการแอพพลิเคชั่นทำให้เราไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนเครื่องลูกข่ายทั้งหมดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพียงแค่เปลี่ยนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพียงตัวเดียวก็พอ เราก็สามารถที่จะกระจายแอพพลิเคชั่นออกไปทำงานบนเซิร์ฟเวอร์ตัวใหม่ก็ได้ เพื่อให้มีการกระจายโหลดของแอพพลิเคชั่นแต่ละตัวแยกออกไปทำงานบนเซิร์ฟเวอร์คนละตัว
บริการฐานข้อมูล (Database Service)
ได้ถูกนำมาใช้เพื่อจัดการกับข้อมูล ซึ่งระบบฐานข้อมูลสมัยใหม่ เช่น ORACLE, Microsoft SQL Server นั้นสามารถที่จะมีสิ่งต่อไปนี้ได้
  1. มีระบบจัดการทางด้านความปลอดภัยสำหรับฐานข้อมูล เช่น การเข้าถึงข้อมูล การแก้ไข ความรู้กล้องวงจรปิด หากมีการเสียหายเกิดขึ้นกับข้อมูลนั้นได้
  2. ทำให้เกิดการใช้งานระบบฐานข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
  3. ผู้ใช้ กล้องวงจรปิดHDTVI ไม่จำเป็นต้องรู้ว่าข้อมูลนั้นจัดเก็บอยู่ที่ใด แต่สามารถเรียกข้อมูลผ่านระบบจัดการฐานข้อมูลขึ้นมาแสดงผลได้
  4. สามารถแยกจัดเก็บข้อมูลผ่านเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูลหลาย ๆ ตัวได้
บริการทางด้านการสื่อสาร (Messaging / Communication Services)
ได้ถูกออกแบบมาให้บริการในการรับส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ได้แก่ อีเมล์ วอยซ์เมล์ บริการโทรสาร
  1. อีเมล์ (E-mail) จะให้บริการส่งจดหมายระหว่างผู้ใช้ในระบบเครือข่ายหรือรับส่งจดหมายจากภายนอกระบบเครือข่ายก็ได้ บริการอีเมล์นับว่าได้รับความนิยมอย่างสูงมากจากผู้ใช้ เพราะว่าสามารถส่งหาผู้คนทั่วโลกได้ในเวลาอันสั้นและประหยัด ยังสามารถมั่นใจได้ว่า จดหมายนั้นจะถูกส่งถึงผู้รับได้อย่างครบถ้วน
  2. วอยซ์เมล์ (Voice Mail) ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราติดต่อกับระบบโทรศัพท์และบันทึกเสียงสนทนา หรือข้อความที่มีผู้ฝากเอาไว้กับเบอร์โทรของเรา ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ แทนที่จะบันทึกเฉพาะในโทรศัพท์ ทำให้สามารถโอนย้ายไฟล์เสียงไปยังเครื่องใด ๆ ในระบบเครือข่ายได้
  3. บริการโทรสาร (Fax Services) ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราสามารถรับส่งโทรสารได้ บริการนี้จะคล้ายกับบริการเครื่องพิมพ์ที่ผู้ใช้ทุกคนสามารถพิมพ์งานได้ผ่านระบบเครือข่าย แต่ว่าจะซ้ำซ้อนมากกว่า เพราะว่าจะต้องทำสองทิศทาง คือ รับและส่งไฟล์ระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์บริการโทรสารและเครื่องคอมพิวเตอร์ ยังช่วยประหยัดค่ากระดาษและหมึกพิมพ์ เพราะว่าเราสามารถที่จะเลือกพิมพ์หรือไม่พิมพ์โทรสารที่ส่งเข้ามาก็ได้หลังจากเราพิจารณาแล้วเห็นว่าไฟล์นั้นไม่มีประโยชน์ก็ไม่ต้องพิมพ์ ถ้าเป็นเครื่องโทรสารจะต้องพิมพ์ทุกข้อมูลที่ส่งเข้ามา
กรุ๊ปแวร์ (Groupware)
ประชุมแบบโต้ตอบกัน การแบ่งใช้หน้าจอ กระดานข่าว เป็นต้น
บริการไดเร็กทอรี่ (Directory Services)
เรารู้จักกันในชื่อของมาตรฐาน X500 นั้น จะจัดการเกี่ยวกับข้อมูลตำแหน่งของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่าย หน้าที่หลักก็คือ ทำตัวเป็นศูนย์กลางข้อมูลคอยกำหนดตำแหน่งให้กับอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย ผู้ใช้ที่ต้องการใช้งานเครื่องพิมพ์ได้ร้องขอใช้บริการเครื่องพิมพ์เข้ามา เซิร์ฟเวอร์บริการไดเร็กทอรี่ก็จะทำการแจ้งให้ผู้ใช้ทราบว่าเครื่องพิมพ์นั้นอยู่ที่ใดในระบบเครือข่าย และมีสถานพร้อมใช้งานหรือไม่
บริการด้านความปลอดภัย (Security Services)
เป็นอีกบริการที่ไม่ควรจะลืมสำหรับการทำงานบนระบบเครือข่าย บริการนี้เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะช่วยป้องกันข้อมูลและการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ของ กล้องวงจรปิดแนะนำ ในระบบเครือข่ายจากผู้ไม่ประสงค์ดี ผู้ใช้ทำการแชร์อุปกรณ์หรือข้อมูลให้กับผู้อื่น ก็ควรที่จะมีการควบคุมด้วยว่าจะให้ใครสามารถใช้งานได้บ้าง และระดับของการใช้งานนั้นเป็นอย่างไร เช่น อ่านได้อย่างเดียว ทำได้ทุกอย่าง เป็นต้น

ความปลอดภัยเป็นสิ่งที่สำคัญมากในระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายส่วนมากมักจะใช้เวลาในการเรียนรู้ว่าจะต้องติดตั้งระบบเครือข่ายอย่างไรให้ปลอดภัยจากผู้ไม่ประสงค์ดีบางครั้งก็ต้องมีการติดตั้งกล้องวงจรปิดซ่อนเอาไว้ในห้อง บริการด้านความปลอดภัยจะถูกกำหนดที่ระบบฐานข้อมูลของบัญชีผู้ใช้ ซึ่งจะบอกว่าผู้ใช้มีชื่อว่าอะไร มีรหัสผ่านอะไร เมื่อผู้ใช้ต้องการเข้าใช้งานในระบบเครือข่ายจะต้องทำการล็อกอินและใส่รหัสผ่านก่อน แต่ก็ไม่ได้รับสิทธิให้สามารถใช้บริการทุกอย่างได้ รายละเอียดที่สามารถใช้บริการอะไรได้บ้างจะถูกบรรจุอยู่ในระบบฐานข้อมูลของบัญชีผู้ใช้

ระบบกล้อฝวงจรปิด,IPCAMERA,CCTV

โครงสร้างระบบเครือข่ายและการเชื่อมต่อ ระบบกล้องวงจรปิด CCTV

ในปัจจุบันระบบเครือข่ายได้มีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูง และ สามารถทำงานได้อย่างหลากหลาย ทั้งยังช่วยในเรื่องการติดต่อสื่อสาร และ การส่งข้อมูลต่าง ๆ โดยเฉพาะกับระบบ ระบบกล้องวงจรปิด CCTV ที่มีการส่งผ่านข้อมูลอยู่ตลอดเวลา ดังนี้การเชื่อมต่อข่ายจึงมีประโยชน์ดังนี้
  1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
  2. สามารถสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการสนทนา การส่งจดหมาย ตลอดจนการประชุมทางไกล
  3. สามารถแบ่งทรัพยากรต่าง ๆ ให้ใช้ร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ ซีดี หน่วยความจำ เป็นต้น
  4. ทำให้เกิดการประหยัด เนื่องจากสามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกันได้ นอกจากนี้ยังประหยัดค่าซอฟต์แวร์ และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสื่อสารอีกด้วย
องค์ประกอบหลักที่สำคัญของการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่าย
องค์ประกอบของการสื่อสารจะประกอบด้วย 5 ส่วนหลักคือ
  1. ผู้ส่ง (Sender) อุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นคน คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวงจรปิด AHD กล้องวงจรปิด PANASONIC เป็นต้น
  2. ผู้รับ (Receiver) อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นคน คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ โทรทัศน์ กล้องวงจรปิด KENPRO หรือ กล้องวงจรปิดไฮวิว เป็นต้น
  3. ข้อมูล (Message) ข้อมูลหรือข่าวสารที่ต้องการส่ง ซึ่งอาจจะเป็น ตัวหนังสือ ตัวเลข รูป เสียง หรือ ภาพกล้องวงจรปิด หรือสิ่งใดก็ตามที่ต้องการส่งหรือรับ
  4. สื่อกลาง (Medium) สื่อกลางทางกายภาพที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปสู่ปลายทาง ซึ่งอาจจะเป็นสื่อแบบสาย เช่น สายคู่ตีเกลียว UTP สายโคแอกเชี่ยล RG6 สายไฟเบอร์ออฟติก FIBER OPTIC หรือสื่อแบบไม่มีสาย เช่น คลื่นวิทยุ เลเซอร์ กล้องวงจรปิดไวไฟ เป็นต้น
  5. โพรโตคอล (Protocol) เป็นภาษา ข้อบังคับ กฏเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดวิธีการสื่อสารข้อมูลระหว่างทั้งสองฝั่ง ซึ่งจะกำหนดว่าอุปกรณ์ที่ใช้รับและส่งนั้นจะแปลงข้อมูลอยู่ในรูปแบบใดก่อนที่จะส่งหรือรับ และจะต้องอยู่ในรูปแบบเดียวกันทั้งสองฝั่งด้วย ไม่เช่นนั้นจะสื่อสารไม่สำเร็จ ถ้าปราศจากโพรโตคอล อาจจะติดต่อกันได้แต่ไม่สามารถสื่อสารกันได้ เหมือนกับที่ฝั่งหนึ่งพูดภาษาไทยอีกฝั่งหนึ่งพูดภาษาอังกฤษ ก็จะไม่สามารถสื่อสารกันได้รู้เรื่อง ดังนั้นผู้ แนะนำกล้องวงจรปิด ต้องบอก คุณสมบัติ ระบบกล้องวงจรปิด ให้ผู้ใช้งานทราบด้วย
การเชื่อมต่อ
การเชื่อมต่อสามารถทำได้หลากหลายวิธี รวมทั้งองค์ประกอบอื่น ๆ ด้วย เช่น พื้นที่ สิ่งแวดล้อม งบประมาณ ปริมาณการสื่อสารข้อมูล เป็นต้น ระบบเครือข่ายสามารถแบ่งตามลักษณะการเชื่อมต่อภายนอกได้ 2 ประเภท คือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด และการเชื่อมต่อแบบหลายจุด โดยพิจาณาจาก ระบบกล้องวงจรปิด ยี่ห้อ นั้น ๆ
การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point – to – Point)
ส่วนมากจะเป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง 2 เครื่อง โดยเชื่อมต่อสื่อสารข้อมูลกันได้เพียง 2 เครื่องเท่านั้น การเชื่อมต่อในลักษณะนี้สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแบบการเดินสาย ระบบกล้องวงจรปิด และแบบไร้สายกล้องวงจรปิด
การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint)
เป็นการเชื่อมต่อกันตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป และโดยส่วนมากจะมีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เป็นศูนย์รวม ระบบกล้องวงจรปิด เลยก็ได้ การเชื่อมในลักษณะนี้สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแบบมีสายและไร้สาย เช่นเดียวกัน

ลักษณะของการเชื่อมโยงสายสื่อสารเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และ เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายด้วยกัน จะแยกประเภทของโทโปโลยี เป็น 2 กลุ่มคือ

  1. Physical Topology คือ โทโปโลยีทางกายภาพ เป็นการอธิบายถึงเลย์เอาท์ภายนอกจริง ๆ ของระบบเครือข่าย
  2. Logical Topology คือ โทโปโลยีทางตรรกะ เป็นการอธิบายถึงเลย์เอาท์ของเส้นทางที่สัญญาณเดินทางภายในระบบเครือข่ายในเชิงนามธรรม
การใช้ Physical Topology ในการกำหนดว่าจะต้องเดินสายหรือติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายอย่างไร หรือกล่องกล้องวงจรปิด ในขณะที่ Logical Topology จะถูกใช้เพื่อกำหนดว่า ข้อมูลเดินทางผ่านโหนดใดบ้างในระบบเครือข่าย และด้วยวิธีการใดเพื่อให้ได้กล้องวงจรปิดชัดที่สุด
การใช้งานในระบบเครือข่าย นั้นไม่จำเป็นว่า Physical Topology และ Logical Topology นั้น จะต้องเหมือนกัน เช่น ฮับที่เป็นการต่อ Physical แบบ Star แต่ก็อาจจะใช้ Logical ในการสื่อสารเป็นแบบ Bus หรือ Ring ก็ได้ และแม้ว่าจะมีหลากหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมกล่าวถึงหรือเป็นที่รู้จักและใช้งานอยู่ในปัจจุบันก็คือ Ethernet และ Token-ring Topologies
เมสโทโปโลยี (Mesh Topology)
เป็นรูปแบบที่มีความปลอดภัยสูง การส่งสัญญาณทำได้มาก และสามารถป้องกันและตรวจสอบข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีเดินสายของแต่ละเครื่องไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายนี้ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง เพราะทุกครั้งที่มีผู้ใช้รายใหม่เกิดขึ้น จะต้องทำการเชื่อมต่อเข้ากับทุกเครื่องที่มีอยู่ในระบบเดิม จึงไม่ค่อยมีผู้นิยมมากนัก


ข้อดีของ Mesh Topology

  • อุปกรณ์ 1 ตัว ต่อสายส่งข้อมูลหลายเส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ใด ในระบบไม่กระทบต่อการทำงานของจุดอื่น ๆ ในระบบ
  • การส่งสัญญาณมีประสิทธิภาพและรองรับได้ในประมาณสูง
  • มีความปลอดภัยสูง สำหรับ ระบบกล้องวงจรปิด ไอพี
  • ง่ายต่อการตรวจสอบความผิดพลาด และได้ ภาพจาก กล้องวงจรปิดคุณภาพสูง ด้วย
ข้อเสียของ Mesh Topology
  • ใช้สายสัญญาณเยอะ ทำให้ติดตั้งยุ่งยาก มีค่าใช้จ่ายสูง บางครั้งยิ่งนำ กล้องวงจรปิดบ้านหม้อ มาใช้งานด้วย ก็จะทำให้ได้ภาพหรือสัญญาณที่ไม่ดี เราต้องทำการพิจารณา การเลือกซื้อกล้องวงจรปิด ให้ดีด้วย
  • การขยายระบบทำได้ลำบาก การเพิ่มจุดใหม่เข้าไปในระบบ จะต้องเดินสายเข้ากับเครื่องอื่นทุกเครื่อง
  • ค่าใช้จ่ายสูง
โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology)
เป็นรูปแบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันทุกเครื่องเข้าด้วยกันในระบบเครือข่าย ต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางเรียกว่า ฮับ (HUB) ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาณที่มาจากเครื่องต่าง ๆ วงจร กล้องวงจรปิด ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด เครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่ายเครื่องนั้นจะต้องส่งข้อมูลมายังฮับหรือเครื่องศูนย์กลางก่อนแล้วจึงทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไปตามแต่ ชนิดกล้องวงจรปิด


ระบบ MATV จานดาวเทียม

MATV ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 3 ส่วนคือ

1 ส่วนรับสัญญาณทีวีเข้าระบบ

ส่วนรับสัญญาณทีวีที่เป็นสายอากาศจะทำหน้าที่รับสัญญาณทีวีที่ส่งออกมาจากเสาส่งในระบบภาคพื้นดิน แนวคิดคือการนำแผงก้างปลาหันไปตามเสาส่งต่างๆแล้วรวมสัญญาณส่งลงไปตามอาคารตามสายส่ง แต่ปัญหาของทีวีในระบบอนาลอกก็คือ คุณภาพของสัญญาณจะไม่ดี เนื่องจากเกิดการสะท้อนของคลื่นสัญญาณกับอาคารข้างเคียง ทำให้เกิดเงา การจูนสัญญาณอาจเกิดภาวะเสียงชัดภาพไม่ชัด แต่พอภาพชัดเสียงจะไม่ชัดเป็นต้น สมัยนี้ก่อนทีวีดิจิตอลภาคพื้นดินจะเกิดขึ้นจึงนิยมทำวิธีที่สอง
นั้นคือส่วนรับสัญญาณเป็นจานดาวเทียม โดยการมีจานดาวเทียมนี้จะทำให้คุณภาพของสัญญาณดีมาก คมชัดทุกช่อง ไม่เป็นเงา ไม่มีปัญหาเรื่องเสียงและภาพ เราสามารถตั้งจานหลักๆ เพียงจานเดียวก็รับสัญญาณได้หลายๆ ข่อง แต่จะต้องมีการติดตั้งเครื่องรับหรือ Receiver จำนวนมากเพื่อแปลงสัญญาณดาวเทียมให้เป็นสัญญาณทีวีเพื่อส่งไปยังระบบสายสัญญาณของอาคารต่อไป
ตัวอย่างเข่นหากมีช่องดาวเทียมทั้งหมด 100 ช่อง และเราต้องการช่องที่น่าสนใจส่งผ่านระบบ MATV เพียง 10 ช่อง เราก็จะเดินสายสัญญาณมาจากจานดาวเทียมแล้วแยกสัญญาณ 10 เส้นเข้าตัวรับสัญญาณ 10 ตัว โดยแต่ละตัวจะจูนเฉพาะช่องที่เราต้องการ จากนั้นสัญญาณจากจูนเนอร์สิบตัวนี้จะถูกนำไปแปลง (Modulate) เพื่อแปลงเป็นคลื่นวิทยุให้ทีวีสามารถรับสัญญาณได้ เสมือนทำหน้าที่เป็นเครื่องส่งขนาดเล็ก 10 เครื่องนั่นเอง จากนั้นสัญญาณเหล่านี้ก็จะถูกรวม (Combiner) เข้าด้วยกันเพื่อส่งต่อไปยังภาคขยายสัญญาณและกระจายไปตามระบบสายส่งลงสู่แต่ละห้องต่อไป
การออกแบบระบบ MATV แบบนี้ ก็เพื่อให้มั่นใจได้ว่าทุกจุดทุกห้องจะสามารถรับชมทีวีได้ทั้ง 10 ช่องที่เลือกแล้วด้วยความคมชัด ไม่มีสัญญาณสะท้อนต่างๆเหมือนที่รับมาจากสายอากาศโดยตรง หากต้องการเพิ่มช่องก็แค่เพิ่ม Receiver และ Modulator เพิ่มเท่านั้น ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้จะมีขนาดเล็กถูกออกแบบมาโดยเฉพาะเป็นโมดูล เพื่องานในลักษณะนี้ เพราะแต่ละตัวจะทำงานแบบคงที่ มีแหล่งจ่ายไฟรวม ไม่ต้องมีหน้าจอแสดงผล ไม่ต้องมีตัวรับสัญญาณจากรีโมทในแต่ละช่อง (Channel) จึงทำให้ราคาถูกกว่าไปซื้อกล่องดาวเทียมธรรมดามาวางเรียงกัน

2 ภาคขยายสัญญาณทีวี

เนื่องจากโดยทั่วไปแล้วทีวีแต่ละเครื่องจะรับสัญญาณได้ดีที่ความแรงของสัญญาณ 60 – 80 dB หากน้อยกว่า 60 dB ภาพจะมีการรบกวนมากจะเป็นเม็ดๆ หรือเรียกตามระบบทีวีอนาลอกว่าเป็นหิมะ (Snow) หากมากเกิน 80 dB ภาพจะหยาบสีเข้มเกินไป เกิดการเหลื่อมของสีมาก โดยทั่วไปแล้วจะมีการออกแบบให้มีความแรงสัญญาณอยู่ประมาณ 70 dB
การขยายสัญญาณก่อนส่งผ่านไปยังระบบสายส่ง มักจะมีการขยายสัญญาณขึ้นไปถึง 90 – 110 dB ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแบบ เพื่อชดเชยการสูญเสียสัญญาณตามจุดต่างๆ ให้เหลือที่ปลายทางทุกจุดอยู่ในช่วง 70 dB ตามที่กล่าวข้างต้น

3 ส่วนกระจายสัญญาณทีวีไปตามจุดต่างๆ

ส่วนกระจายสัญญาณจะทำหน้าที่หลักๆ กระจายสัญญาณทีวีให้เหมาะสมในแต่ละจุด และทำหน้าที่กำหนดความต้านทานรวมที่ 75 โอห์ม
ในการกระจายสัญญาณไปในแต่ละจุดนั้นจะต้องมีการออกแบบให้ทุกจุดได้รับสัญญาณในช่วง 60 – 80 dB นั่นหมายถึงว่าภาคขยายสัญญาณในข้อ 2 จะต้องขยายสัญญาณให้สูงกว่านี้เพื่อชดเชยการสูญเสียสัญญาณในจุดต่างๆ ส่วนการทำหน้าที่กำหนดความต้านทานรวมหรือ Matching Impedance นั้นก็เพื่อให้กำลังขยายที่ออกมาจากภาคขยายนั้นสูงสุด ไม่งั้นคลื่นจะสะท้อนไปมาระหว่างในสายและจะทำให้เกิดเงาของภาพขึ้นมาได้
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบกระจายสัญญาณมีดังต่อไปนี้
– Tap-off เป็นการแยกสัญญาณจากสายส่งหลักไปยังตัวกระจายสัญญาณไปตามห้องอีกที ซึ่งอาจจะมีทั้งแบบ 2 ทางไปจนถึง 4 ทาง การสูญเสียสัญญาณที่นี่ (Tap loss) จะมีตัวเลขสูงเนื่องจากเป็นตัวแบ่งสัญญาณหลักๆ สายสัญญาณที่ใช้ในช่วงนี้จะเป็นแบบ RG-11
– Splitter ตัวแยกสัญญาณไปยังแต่ละห้องอีกทอดหนึ่ง สัญญาณที่มาจาก Tap-off จะผ่านตัว Splitter อีกทีอันเป็นด่านสุดท้ายที่จะแยกไปตามห้องต่างๆ ยิ่งมีการแยกสัญญาณเยอะ การสูญเสียสัญญาณ (Insertion loss) ก็จะเยอะตามไปด้วย สายสัญญาณที่ใช้ในช่วงนี้จะเป็นแบบ RG-6

แต่จะว่าไปแล้วช่างอาจจะเรียกทั้งหมดว่าเป็น Tap off หรือเรียกทั้งหมดว่าเป็น Splitter ก็ได้ เป็นอันเข้าใจกันว่ามีระบบกระจายสัญญาณสองช่วงนั่นเอง การออกแบบบางกรณีอาจจะใช้เทคนิคการ Tap สัญญาณไปเรื่อยๆก็ได้ หรือเริ่มจาก Splitter ก่อนแล้วค่อย Tap ออกไปตามห้องต่างๆ หรือผสมผสานกันก็ได้ แต่ส่วนใหญ่แล้วช่างจะเริ่มจากการ Split สัญญาณแล้วค่อย Tap ไปตามห้องมากกว่า
โดยรวมแล้วเราก็จะเลือกช่องที่มี Tap loss สูงไว้ในบริเวณต้นทาง เช่นตึกช่วงบนๆ ส่วน Tap loss ต่ำๆ ก็จะเลือกส่งไปบริเวณชั้นล่างๆ เนื่องจากสายสัญญาณที่ยาวขึ้นมีการสูญเสียในสายเพิ่มขึ้นเพื่อให้ค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่าๆกัน จากนั้นก็ต่อไปยัง Splitter เพื่อแยกไปตามแต่ละห้องอีกที

สรุป

หลักการเบื้องต้นของ MATV ที่กล่าวมานั้นเป็นของระบบทีวีที่ตัวทีวีมีจูนเนอร์แบบอนาลอก เนื่องจากเราห่วงเรื่องการเกิดเงาของคลื่นมาก การส่งผ่านสัญญาณในสายสัญญาณที่ฝาห้องจะเป็น RF แบบอนาลอกที่ทีวีต้องมีจูนเนอร์แบบ อนาลอก
แต่การออกอากาศทีวีระบบดิจิตอล ที่มีการออกอากาศแบบความคมชัดสูงหรือ HD ด้วย การออกแบบในลักษณะดังกล่าวจึงไม่สามารถรองรับทีวีดิจิตอลได้ ดังนั้นการออกแบบระบบ MATV สำหรับการรับชมทีวีดิจิตอลภาคพื้นดินจึงอาจจะต้องเปลี่ยนแนวคิดใหม่ นั่นคือการส่งผ่านสัญญาณจากสายอากาศ ขยายสัญญาณแล้วกระจายสัญญาณโดยตรงลงมาตามห้องต่างๆ โดยแต่ละห้องก็จะมี Set top box หรือทีวีที่มีดิจิตอลจูนเนอร์ในตัว นั่นหมายความว่าต้องส่งผ่านความถี่ทุกช่วง ตั้งแต่ 470 – 862 MHz นั่นเอง